อ. อัจฉรา ประดิษฐ์

Atchara Pradit

วุฒิการศึกษา

วุฒิการศึกษา  

ปริญญาโท M.A. (Children’s Literature Studies) University of Warwick, UK ปีพ.ศ. 2540

ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีพ.ศ. 2536

ประกาศนียบัตรหลักสูตร “วิชาหนังสือ” คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีพ.ศ. 2545

 

ความเชี่ยวชาญ

ภาษาและวรรณคดีไทย/อังกฤษ การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณกรรม                    

 การบรรณาธิการกิจ

การแปล (อังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ) การเล่านิทาน การพัฒนาเด็กด้วยหนังสือ

การแสดงและการจัดกิจกรรมสำหรับเด็ก การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็ก

ตำแหน่งทางวิชาการ

อาจารย์

ตำแหน่งการทำงาน

กรรมการบริหารหลักสูตรด้านวิชาการ การประกันคุณภาพ

  • พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา    อาจารย์ประจำ สาขาวิชาวรรณกรรมสำหรับเด็ก ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์                                     คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • พ.ศ. 2549-2554           หัวหน้าสาขาวิชาวรรณกรรมสำหรับเด็ก รองหัวหน้าภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
  • พ.ศ. 2549-ปัจจุบัน        ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวรรณกรรมสำหรับเด็ก  ศูนย์การศึกษาระดับปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • พ.ศ.2554                  ·    อาจารย์ดีเด่น สาขามนุษยศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • หนังสือ

อัจฉรา ประดิษฐ์. (2550). ชุด TK ชวนอ่าน ชวนเด็กไทยให้เป็นนักอ่าน (๑). กรุงเทพฯ: สำนักงานอุทยานการเรียนรู้.

 

  • หนังสือแปล

ดอน ฟรีแมน. (2551). คอร์ดูรอย. แปลจาก Corduroy โดย อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์ คิดดี้.

เด มัตโตส์, อเล็กซานเดอร์ เตกซีย์รา. (2553). ทิลทิล. แปลจาก Tyl Tyl โดย อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: เรือนปัญญา.

ฮอฟฟ์, เบนจามิน. (2554). เต๋อแบบพิกเลต. แปลจาก The Te of Piglet โดย อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มติชน.

กุลวรา ชูพงศ์ไพโรจน์.  (2556).  ความรักของพ่อนก (The Love of Father Great Hornbill). แปลโดย อัจฉรา ประดิษฐ์. 
            กรุงเทพฯ:  สถาพรบุ๊คส์.

กุลวรา ชูพงศ์ไพโรจน์. (2556).  พ่อปลาผู้กล้าหาญ (The Brave Father Fish).  แปลโดย อัจฉรา ประดิษฐ์.  กรุงเทพฯ: 
            สถาพรบุ๊คส์.

นำบุญ  นามเป็นบุญ. (2556).  วันเกิดของลูกกระต่าย (Little Rabbit’s Birthday).  แปลโดย อัจฉรา ประดิษฐ์.  กรุงเทพฯ: 
            สถาพรบุ๊คส์.

นำบุญ  นามเป็นบุญ. (2556).  ลูกแมวน้ำยอดนักกีฬา (The Sportive Seal).  แปลโดย อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ:  สถาพรบุ๊คส์.

นำบุญ  นามเป็นบุญ. (2556).  ลูกหนูตัวจิ๋ว (The Mini Mouse).  แปลโดย อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์.

มันช์, โรเบิร์ต.  (2556).  เจ้าหญิงถุงกระดาษ. แปลจาก The Paper Bag Princess โดย อัจฉรา ประดิษฐ์.  กรุงเทพฯ:มูลนิธิเอสซีจี.

สวิฟต์, โจนาธาน.  (2558).  การเดินทางของกัลลิเวอร์.  อัจฉรา ประดิษฐ์ แปลจาก  Gulliver’s Travels.  กรุงเทพฯ:  แพรวเยาวชน.

ตุ๊บปอง.  (2561). จ๊ะเอ๋…บ๊าย บาย.  แปลเป็นภาษาอังกฤษ เรื่อง Hello, Good-Bye โดย อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ:

            เสถียรธรรมสถาน. 

 

  • วารสารสำหรับเด็ก

Highlights High Five.  (2554, May).  ผู้แปลทั้งฉบับ อัจฉรา ประดิษฐ์ และรพินทร คงสมบูรณ์

Highlights High Five.  (2554, June). ผู้แปลทั้งฉบับ อัจฉรา ประดิษฐ์ และรพินทร คงสมบูรณ์

Highlights High Five.  (2554, November).  ผู้แปลทั้งฉบับ อัจฉรา ประดิษฐ์ และรพินทร คงสมบูรณ์

 

  • บรรณาธิการวรรณกรรมเยาวชน

ฯคีตกาล.  (2547).  มัจฉานุผจญภัย. บรรณาธิการ อัจฉรา ประดิษฐ์.  กรุงเทพฯ: แพรวเยาวชน.

เด มัตโตส์, อเล็กซานเดอร์ เตกซีย์รา.  (2549). นกสีฟ้า. แปลจาก The Blue Bird โดย น้ำค้าง. บรรณาธิการ อัจฉรา ประดิษฐ์.
            กรุงเทพฯ: เรือนปัญญา.

ชัยกร หาญไฟฟ้า.  (2551).  ขอหนูขึ้นเวที.  บรรณาธิการ อัจฉรา ประดิษฐ์.  กรุงเทพฯ: แพรวเยาวชน.

ฮอฟต์, เบนจามิน.  (2554).  เต๋าแบบหมีพูห์.  แปลจาก The Tao of Pooh โดย มนต์สวรรค์ จินดาแสง. บรรณาธิการ
            อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มติชน.

คามิน คมนีย์.  (2554).  ตามหาโจตัน.  บรรณาธิการ อัจฉรา ประดิษฐ์.  กรุงเทพฯ:  นานมีบุ๊คส์.

ศักดิ์สิทธิ์ เทวบิน.  (2558).  ในสระน้ำ.  บรรณาธิการ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ:  นานมีบุ๊คส์.

 

  • คอลัมน์

อัจฉรา ประดิษฐ์. (2552, ธันวาคม). คอร์ดูรอย หมีน้อยคอยใครมารัก. Family Weekend. (ฉบับ ณ.เณร): 20-21.

อัจฉรา ประดิษฐ์. (2552, กุมภาพันธ์). Love Flute: ขลุ่ยรัก. Family Weekend. (ฉบับ ฉ.ฉิ่ง): 20-21.

อัจฉรา ประดิษฐ์. (2552, มกราคม). แหงนมองฟ้า พัฒนาสมอง. Family Weekend. (ฉบับ จ.จาน): 12-13.

อัจฉรา ประดิษฐ์.  (2551, พฤษภาคม-มิถุนายน).  ขอทางหน่อยจ้า…ลูกเป็ดมา. วารสารเด็กไท. (ฉบับที่ 38): 16-19.

อัจฉรา ประดิษฐ์.  (2551, มิถุนายน).  หนูนาร่าเริง กุริกับกุระ.  Family Weekend.  (ฉบับ ก.ไก่):  20-21.

อัจฉรา ประดิษฐ์. (2549, กันยายน).  คามิชิไบ โรงละครกระดาษ: หนังแผ่นก่อนยุคจอแก้วและจอเงินของญี่ปุ่น.  วารสารหนังสือ
            เพื่อเด็ก
.  ปีที่ 4(ฉบับที่ 1): 6-11.

อัจฉรา ประดิษฐ์.  (2549, มกราคม-สิงหาคม).  ความรุ่มรวยของศิลปะการเล่านิทานอินเดีย: ตอนที่ 1 ภาพรวมของงานสัมมนา
            การเล่านิทานนานาชาติเอเชีย และการเล่านิทานด้วยระบำ Katak. วารสารหนังสือเพื่อเด็ก.  ปีที่ 3(ฉบับที่ 2-3): 25-34.

อัจฉรา ประดิษฐ์. (2547, กันยายน).  Just So Stories เรื่องมันเป็นอย่างนั้นเอง: นิทานอธิบายเหตุที่มีเสน่ห์.  วารสารหนังสือเพื่อเด็ก
            ปีที่ 2(ฉบับที่ 4). 26-30.

อัจฉรา ประดิษฐ์.  (2547, มกราคม).  นิทรรศการ ฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เซน อะวอร์ดส์ ที่ห้องสมุดนานาชาติของญี่ปุ่น      

            ด้านวรรณกรรมสำหรับเด็กของญี่ปุ่น.  วารสารหนังสือเพื่อเด็ก.  ปีที่ 1(ฉบับที่ 2). 20-27.

อัจฉรา ประดิษฐ์.  (2546, กันยายน).  การเล่านิทานจากประสบการณ์ของผู้สอน.  วารสารหนังสือเพื่อเด็ก. ปีที่ 1(ฉบับที่ 1). 23-29.

 

  • บรรณาธิการหนังสือภาพสำหรับเด็ก

เบอร์นิงแฮม, จอห์น. (2553). คุณตา. แปลจาก Granpa โดย งามพรรณ เวชชาชีวะ. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ
            วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

อันโนะ, มิตษุมาสะ. (2553). ในป่าใหญ่. แปลจาก Anno’s Strange Woods. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า  ชีวัน วิสาสะ
            วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

เคราส์, รูธ. (2553). วันแสนสุข. แปลจาก The Happy Day โดย รพินทร ณ ถลาง. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ
            วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

ลิออนนี, ลีโอ. (2553). ปลาก็คือปลา. แปลจาก Fish is Fish โดย อริยา ไพฑูรย์. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ
            วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

ยัง, เอ็ด. (2553). คุณยายหมาป่า. แปลจาก Lon Po Po โดย ดร.ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า
            ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

ซี. สเตด, ฟิลิป. (2554). วันเยี่ยมไข้เอมอส แมคกี. แปลจาก A Sick Day for Amos McGee โดย ดร. ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์.  บรรณาธิการโดย
            พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

เบอร์นิงแฮม, จอห์น.  (2554).  คุณกัมปี้ไปเที่ยว.  แปลจาก Mr. Gumpy’s Outing โดย งามพรรณ เวชชาชีวะ.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์
            นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

มูรายามะ, เคโกะ.  (2554).  ทาโร่เดินทาง. แปลจาก Taro’s Pleasant Visit โดย มารินา โคบายาชิ.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า  

            ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

วีสเนอร์, เดวิด.  (2554).  วันอังคาร. แปลจาก Tuesday โดยกองบรรณาธิการ.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า  ชีวัน วิสาสะ
            วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

ยาบุอุจิ, มาซายูกิ.  (2554).  ลูกสัตว์น่ารัก.  แปลจาก Animal’s Family โดยกองบรรณาธิการ.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า  
            ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

มาซายูกิ, ยาบุอุจิ,.  (2555).  ลูกสัตว์ไปกับแม่.  แปลจาก Animal Mothers โดย มารินา โคบายาชิ. บรรณาธิการโดย พรอนงค์
            นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

โรห์มันน์, เอริค.  (2555).  บินข้ามเวลา.  แปลจาก Time Flies. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี
            ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

วอร์ด, ลินด์.  (2555).  หมีตัวใหญ่ที่สุด.  แปลจาก The Biggest Bear โดย ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์. บรรณาธิการโดย พรอนงค์
            นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

แสวนสัน, ซูซาน มารี.  (2555)  บ้านหลังน้อยยามค่ำคืน.  แปลจาก The House in the Night โดย รพินทร ณ ถลาง.
            บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

อัสบียอนเซน, เปียเตอร์; แองแบรธเซน, โม และ บราวน์, มาเซีย.  (2555).  แพะสามตัว.  แปลจาก The Three Billy Goats Gruff
            โดย ดาราฉันท์ สุทธิธนกูล. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์.
            กรุงเทพฯ: มูลนิธิซิเมนต์ไทย.

มันช์, โรเบิร์ต.  (2556).  เจ้าหญิงถุงกระดาษ.  แปลจาก The Paper Bag Princess โดย อัจฉรา ประดิษฐ์.  บรรณาธิการโดย
            พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

วีสเนอร์, เดวิด.  (2556).  รอยทะเล.  แปลจาก Flotsam.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์
            อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ:  มูลนิธิเอสซีจี.

สมิธ, เลน.  (2556).  นี่คือหนังสือ.  แปลจาก It’s a Book โดย ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า
            ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

ฮายาชิ, อาคิโกะ.  (2556).  มือหนูอยู่ไหน.  แปลจาก Where’s My Hand? โดย มารินา โคบายาชิ. บรรณาธิการโดย พรอนงค์
            นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

ชีวัน วิสาสะ.  (2557).  ลูกแมวซื้อมันแกว.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ:
            มูลนิธิเอสซีจี.

นากาโนะ, ฮิโรทากะ.  (2557).  คุณช้างไปเดินเล่น.  แปลจาก Zo-Kun No Sampo โดย มารินา โคบายาชิ.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์
            นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

บราวน์, มาร์กาเร็ต ไวส์.  (2557).  ลูกกระต่ายคืนรัง.  แปลจาก The Runaway Bunny โดย สาธิตา ทรงวิทยา.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์
            นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

มารี, เอียลา และ อองโซ.  (2557).  แอปเปิ้ลกับผีเสื้อ.  แปลจาก La Mela e la Farfalla โดยกองบรรณาธิการ.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์
            นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

เซย์,  อัลเลน.  (2558).  คุณตานักเล่านิทาน.  แปลจาก Kamishibai Man โดย ดร. ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์. บรรณาธิการโดย
            พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ และ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ:  มูลนิธิเอสซีจี.

แบร์เร็ตต์, จูดี้. (2558).  สัตว์ไม่ควรใส่เสื้อผ้าเด็ดขาด.  แปลจาก Animals Should Definitely Not Wear Clothesโดย รพินทร
            ณ ถลาง. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ และ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

มิตษุมาสะ อันโนะ.  (2558).  นักเดินทาง. แปลจาก Anno’s Journey.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี
            ฉกาจทรงศักดิ์ และ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ:  มูลนิธิเอสซีจี.

วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์.  (2558).  ห้าพี่น้องกับของเล่นใหม่.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์
            และ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ:  มูลนิธิเอสซีจี.

จอยซ์, วิลเลียม.  (2559).  มหัศจรรย์หนังสือบินของนาย มอริส เลสมอร์.  แปลจาก The Fantastic Flying Book of Mr. Morris

            Lessmore. โดย ดร. ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์
            และ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ:  มูลนิธิเอสซีจี.

โฟกลีอาโน่, จูลี่. (2559).  ถ้าเธออยากเห็นปลาวาฬ.  แปลจาก If You Want to See A Whale โดย อริยา ไพฑูรย์. บรรณาธิการโดย พรอนงค์
            นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

ฮายาชิ, อาคิโกะ.  (2559).  ช่วยเช็ดให้นะ.  แปลจาก KYUKKYUKKYU โดย มารินา โคบายาชิ. บรรณาธิการโดย พรอนงค์
            นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

11 ศิลปิน.  (2560).  บันดาลแรงใจ.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์
            และชัชนันท์ ประสพวงศ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

ซาซากิ, มากิ.  (2560).  กอด.  แปลจาก May I Hug You? โดย มารินา โคบายาชิ.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ
            วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์ และชัชนันท์ ประสพวงศ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

ลิออนนี, ลีโอ.  (2560).  สีฟ้าเล็กเล็ก กับ สีเหลืองเล็กเล็ก.  แปลจาก Little Blue and Little Yellow. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า
            ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์ และชัชนันท์ ประสพวงศ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

พอพ็อฟ, นิโกไล.  (2560).  ทำไม.  แปลจาก Why? โดยกองบรรณาธิการ.  บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์
            อัจฉรา ประดิษฐ์ และชัชนันท์ ประสพวงศ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

โทลมัน, มาไรซ์., โทลมัน, โรนัลด์. (2561). บ้านบนต้นไม้.  แปลจาก เรื่อง De Boomhut. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า ชีวัน วิสาสะ
            วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

บราวน์, มาร์กาเร็ต ไวส์. (2561).  พระจันทร์ ฝันดี. แปลจาก Goodnight Moon โดย รพินทร ณ ถลาง. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า
            ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

 ฮ็อกโกรเกียน, น็อนนี่. วันนี้ วันดี.  (2561). แปลจาก One Fine Day โดย งามพรรณ เวชชาชีวะ. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า
            ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

เคราส์, รูธ. (2562). เรื่องเล่าเราเติบโต. แปลจาก The Growing Story โดย ผุสดี นาวาวิจิต. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า
            ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

รวีชังการ์, อนุชกา. (2562).  อึ๊ก!. แปลจาก Hick! โดย ชีวัน วิสาสะ. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า
            ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

แวงซองต์, กาเบรียล. (2562). วันหนึ่ง หมาตัวหนึ่ง.  แปลจาก Un Jour un Chien. บรรณาธิการโดย พรอนงค์ นิยมค้า
            ชีวัน วิสาสะ วิภาวี ฉกาจทรงศักดิ์ อัจฉรา ประดิษฐ์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเอสซีจี.

 

  • งานวิจัย

พ.ศ. 2548-2549      หัวหน้าโครงการวิจัย “กระบวนการส่งเสริมการอ่านที่ได้ผลสำหรับเด็กประถมศึกษาช่วงชั้นที่ 1 และ 2”
                        ได้รับทุนวิจัยจาก สำนักงานอุทยานการเรียนรู้ (TK park)

พ.ศ. 2551             ผู้ร่วมวิจัย “โครงการพัฒนาสื่อหนังสือเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยในระดับจิตใต้สำนึก เพื่อป้องกันพฤติกรรมเสพบุหรี่
                        และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์”
                        ได้รับทุนวิจัยจาก แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

พ.ศ. 2554             ผู้ร่วมวิจัย “โครงการวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนาสื่อสร้างภูมิคุ้มกันพฤติกรรมเสี่ยงสำหรับเด็กปฐมวัย”

                        หัวหน้าทีมวิจัย รศ. ดร. สายฤดี วรกิจโภคาทร, ทีมวิจัย ภญ. ดร. พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร, อัจฉรา ประดิษฐ์,
                        นพ. ปิยะวงศ์ เศรษฐวงศ์, อ. ดร. วิมลทิพย์ มุสิกพงศ์

                        ได้รับทุนวิจัยจากแผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

พ.ศ. 2555             ผู้ร่วมวิจัย “โครงการพัฒนาสื่อหนังสือเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยในระดับจิตใต้สำนึก เพื่อป้องกันพฤติกรรมเสพบุหรี่
                        และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์”

                        หัวหน้าทีมวิจัย รศ. ดร. สายฤดี วรกิจโภคาทร, ทีมวิจัย ภญ. ดร. พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร, อ. อัจฉรา ประดิษฐ์,
                        ดร. อมรา ตัณฑ์สมบุญ

พ.ศ. 2557             ผู้ร่วมวิจัย “โครงการพัฒนาสื่อหนังสือเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยในระดับจิตใต้สำนึกเพื่อป้องกันพฤติกรรมการดื่ม แอลกอฮอล์”

                        หัวหน้าทีมวิจัย รศ. ดร. สายฤดี วรกิจโภคาทร, ทีมวิจัย ภญ. ดร. พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร, อ. อัจฉรา ประดิษฐ์ และคณะ
                        ได้รับทุนวิจัยจากสำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า (สสส.)

ประสบการณ์

  • นำเสนอผลงานวิจัยระดับนานาชาติ ในงาน IBBY World Congress ครั้งที่ 30 ณ เกาะมาเก๊า สาธารณรัฐประชาชนจีน เรื่อง “Reading Promotion in Primary Schools of Thailand: The study of problematic background, the key success factors and interesting activities of reading promotion found in 10 Primary Schools within Bangkok and its nearby provinces, which won the reading promotion award on the year 2003 given by Her Royal Highness Princess Sirindhorn, and reading promotion awards given by private sectors.
  • ร่วมสัมมนางานเทศกาลเล่านิทานนานาชาติ ประเทศสิงคโปร์ และประเทศอินเดีย
  • ดูงานห้องสมุดสำหรับเด็กและเยาวชน ประเทศอังกฤษ ญี่ปุ่น ฮ่องกง สิงคโปร์ จีน เกาหลีใต้
  • ร่วมสัมมนางานประชุมนานาชาติด้านวรรณกรรมสำหรับเด็กและเยาวชน ประเทศอังกฤษ
  • Guest Speaker งานประชุมนานาชาติด้านวรรณกรรมสำหรับเด็ก ของกลุ่มประเทศในทวีปเอเชียและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกรวมทวีปออสเตรเลีย ชื่องาน The 3rd Asia Oceania Regional IBBY Congress READ = LIFE: Children’s Books in the Digital Age หัวข้อ “Children’s Literature as Foundation of Life” 10 May 2017, Bangkok, Thailand

 

งานนอกสถาบัน

  • ที่ปรึกษา มูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก ThaiBBY
  • กรรมการมูลนิธิ “เมล็ดฝัน”
  • กรรมการตัดสินการประกวดวรรณกรรมเยาวชน รางวัล “นายอินทร์อะวอร์ด” จัดโดย บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน),
    รางวัล “แว่นแก้ว” จัดโดยบริษัทนานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่น จำกัด
  • กรรมการตัดสินการประกวดนิทานภาพ “รู้เก็บรู้ใช้” จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
  • กรรมการคัดเลือกหนังสือดีเด่น สำหรับห้องสมุดเด็กของสมาคมไทสร้างสรรค์ จ. ขอนแก่น
  • กรรมการตัดสินการประกวดเรียงความภาษาอังกฤษ เชิงสร้างสรรค์แห่งประเทศไทย โครงการ “Junior Dublin Literary Awards for
    Thailand” จัดโดย หนังสือพิมพ์ The Nation และสื่อออนไลน์ NJ Digital ร่วมกับ สถานทูตไอร์แลนด์ และองค์กรร่วม
  • กรรมการตัดสินโครงการ “ลับสมองประลองปัญญา สรรหาหนูน้อยนักเล่านิทาน” ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
    ราชกุมารี โดย นิตยสาร Mother&Care
  • คณะกรรมการคัดสรรสื่อและสิ่งพิมพ์ สำนักงานอุทยานการเรียนรู้ (TK park)
  • คณะกรรมการคัดสรรวรรณกรรมเยาวชนเพื่อดำเนินการแปล สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม
  • อนุกรรมการฝ่ายวรรณกรรมเพื่อภูมิคุ้มใจเยาวชน ในการจัดงาน 100 ปี พุทธทาสภิกขุ จัดโดยกระทรวงศึกษาธิการ
  • วิทยากรอบรมเรื่องการใช้หนังสือสำหรับเด็กและการเล่านิทาน แก่พ่อแม่ ครูอนุบาล ผู้ดูแลเด็ก แก่สถาบันต่าง ๆ
  • บรรณาธิการหนังสือสำหรับเด็กและวรรณกรรมเยาวชน
  • บรรณาธิการต้นฉบับแปลหนังสือ/ วรรณกรรมเยาวชน ภาษาอังกฤษ-ไทย
  • นักเขียนคอลัมน์เกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็กและการพัฒนาเด็กด้วยวรรณกรรมสำหรับเด็ก
  • ล่าม และนักแปล

ที่อยู่ติดต่อ

สถานที่ทำงาน

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวรรณกรรมสำหรับเด็ก
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

114 สุขุมวิท 23 สุขุมวิท
เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

โทรศัพท์สำนักงาน : 0-2649-5000 ต่อ 16086, 16510

อีเมล : atchara@g.swu.ac.th